สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รหัสประจำตัวนักศึกษาชื่อสกุลชื่อปริญญานิพนธ์อาจารย์ที่ปรึกษา
520110306นายศิริพงศ์วรรณห้วยศึกษากลวิธีการใช้ภาษาชักจูงในสื่อโฆษณาของไทยและญี่ปุ่น : กรณีศึกษาโฆษณาโทรทัศน์เกี่ยวกับเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพของไทยและญี่ปุ่นวลัยพร/
Konno
520110424นางสาวกมลชนกพิณชัยญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาของ OTOP จังหวัดเชียงใหม่ : ศึกษาเปรียบเทียบกับ OVOP จังหวัดโออิตะ ประเทศญี่ปุ่น เบญจางค์/
520110425นางสาวกรชนกทิวากรพันธ์บทบาทของ GHQ ที่มีต่อสถานภาพของสถาบันจักรพรรดิหลังสงครามโลกครั้งที่ 2พนิดา/
520110424นายกฤษฎาอุปนันท์สภาวะการทำงานของลูกจ้างชั่วคราวหลังเศรษฐกิจฟองสบู่แตกพนิดา/
Nakai
520110430นางสาวจุฑารักษ์สุริยะมณีศึกษากระบวนการ 草食化 ของหนุ่มสาวญี่ปุ่นในปัจจุบันพนิดา/
Ota
520110431นางสาวเจนจิราแท่นรัตน์การศึกษาระบบการจัดการอาหารกลางวันของโรงเรียนประถมศึกษาประเทศญี่ปุ่นเบญจางค์/
Konno
520110433นายณัฐพลบรรเทิงจิตต์การศึกษาวิเคราะห์ภาพของ “อิคุเมน” ที่นำเสนอผ่านละครโทรทัศน์ญี่ปุ่นเบญจางค์/
Yoshida
520110434นายถิรวุฒิยศบุตรการเปรียบเทียบเรื่องสั้น "ในป่าละเมาะ" ของ ริวโนะสุเกะ อะคุตางาวะ กับ นิทานชาดกประเด็นศึกษา : การได้รับอิทธิพลจากนิทานชาดกต่อเรื่องสั้น "ในป่าละเมาะ" ธีรัช/
Konno
520110440นางสาวปวีณาขาวสุทธิ์ศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของเพศชายและเพศหญิง ในการตอบปฏิเสธข้อเสนอในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทยวลัยพร/
Yoshida
520110441นางสาวปัญจมาแผลงศรการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนญี่ปุ่นที่พำนักระยะยาวกับคนไทยในท้องถิ่น : กรณีศึกษา จ.เชียงใหม่พนิดา/
Nakai
520110442นางสาวพลอยไพลินใจคำแปงพฤติกรรมแบบ “มุระฮาชิบุ” หรือการถูกขับออกจากกลุ่มในอดีต และปรากฏการณ์ที่มีลักษณะคล้ายกันในสังคมญี่ปุ่นปัจจุบันเบญจางค์/
Mikami
520110443นางสาวพัฒน์นรีพงษ์ศิริสุนทรการศึกษาการกล่าวขอบคุณในสังคมญี่ปุ่น – กรณีศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง –สรัญญา/
Mikami
520110445นางสาวมณีรัตน์งามขำศึกษาวิธีการใช้ 「バイト敬語」 กรณีศึกษา 「ファミレス敬語」สรัญญา/
Ota
520110448นางสาวเยาวลักษณ์สิริรุ่งจารุมองสังคมญี่ปุ่นผ่านเพลงลูกทุ่งญี่ปุ่น กรณีศึกษา : ศึกษาจากซิงเกิ้ลเพลงของเทเรซ่า เต็ง ธีรัช/
Ota
520110451นายวสันต์ควรชื่นใจศึกษาการใช้คำกริยาแสดงการครอบครองในภาษาญี่ปุ่น “ARU” และ “MOTSU” ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยและชาวญี่ปุ่นที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาแม่วลัยพร/
Yoshida
520110453นางสาวสริศากัมปนาทแสนยากรนิทานพื้นบ้านกับตัวละครยักษ์ธีรัช/
Ota
530110428นางสาวกัณฐิกาปิ่นทองศึกษาภาพลักษณ์ใหม่ของผู้หญิงทำงานญี่ปุ่น กรณีศึกษา : วรรณกรรมสมัยใหม่เรื่อง “Cosmetic- สงครามความงาม”ธีรัช/
Ota
530110430นางสาวจิราภรณ์เจริญกุลการศึกษาภาพลักษณ์ของผู้หญิงไทยกับผู้หญิงญี่ปุ่นที่ถูกสะท้อนผ่านละครโทรทัศน์ กรณีศึกษา : การเปรียบเทียบละครเรื่องแรงเงาของไทยกับละครเรื่อง The Last Cinderellaของญี่ปุ่น เบญจางค์/
Mikami
530110431นางสาวฉัตรกมลหมอกเมฆการศึกษาการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ “ฮิคิโคโมริ” ในประเทศญี่ปุ่นพนิดา/
Konno
530110432นางสาวฐิรชญาศรีงาม“แยงกี้” ในประเทศญี่ปุ่น : ตัวตนและวัฒนธรรมพนิดา/
Konno
530110434นางสาวฐิติมาตาหล้าแนวคิด “การสร้างบ้านแปลงเมือง” ของเมืองเกียวโตในฐานะที่เป็นเมืองท่องเที่ยวพนิดา/
Ota
530110435นางสาวทิพากรเพียรประเสริฐวิวัฒนาการขนมหวานญี่ปุ่นและสาเหตุการเปลี่ยนแปลงของขนมหวานญี่ปุ่นตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันเบญจางค์/
Yoshida
530110437นางสาวธัญวรัตม์ศักดาธรการศึกษาทัศนคติของหนุ่มสาวญี่ปุ่นต่อกิจกรรมการหาคู่ที่เรียกว่า "โกคง"พนิดา/
Mikami
530110439นางสาวบุษรินทร์โทนหงสาทัศนคติและการเปิดรับของนักศึกษาไทย ต่ออุตสาหกรรมภาพยนตร์เอวีของประเทศญี่ปุ่น (AV)พนิดา/
Nakai
530110441นางสาวปิยะพรเขื่อนแก้วกระบวนการที่ทำให้ภาพพิมพ์ "อุคิโยะเอะ" มีอิทธิพลต่อศิลปะตะวันตกพนิดา/
Yoshida
530110442นางสาวพลอยชมพูพินทุเสนีย์แนวโน้มการลงทุนและท่าทีของผู้ประกอบการญี่ปุ่นต่อไทยหลังผลกระทบจากกรณีมหาอุทกภัยปี2554 เบญจางค์/
Nakai
530110448นางสาวรั่นวาตานาเบ้ศึกษาการกล่าวถึง “สถานที่” ที่ปรากฏใน100บทกวีญี่ปุ่นโบราณ “เฮียะคุนินอิชชุ”ธีรัช/
Ota
530110450นางสาววันวิสาข์วัชรศุภรณ์การศึกษาเกี่ยวกับวันหยุดและวันสำคัญในปฏิทินญี่ปุ่นพนิดา
Nakai
530110452นางสาวศศิธรจูมแก้วภาพตัวแทนของ “ระบบการศึกษาของประเทศญี่ปุ่น” ที่สะท้อนผ่านสื่อโทรทัศน์ของไทย ศึกษาจากรายการ “ดูให้รู้” ตอนที่เกี่ยวกับระบบการศึกษาพนิดา/
Mikami
530110453นางสาวสิวินีย์ศิริพงษ์การศึกษาเรื่องราวของชาวญี่ปุ่นในประวัติศาสตร์ไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยาเบญจางค์/
Konno
530110457นางสาวสุพรรษาติสิงห์การยอมรับวัฒนธรรมองค์กรแบบญี่ปุ่นของพนักงานระดับต่าง ๆ ในนิคมอุตสาหกรรมลำพูนเบญจางค์/
Mikami